ภพ.30 Archive

Latest Posts

การทำงานกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)

การทำงานกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30) ว่าด้วยเรื่องภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)    ถ้ารายได้ไม่เกิน 1.8 ล้านบาท/ปี ก็ไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat)  แต่ถ้าหากต้องการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat) กฎหมายก็อนุญาตให้ทำได้ ยกเว้นธุรกิจบางประเภท ภ.พ.30  แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม รายรับ    =  เป็นยอดขายสินค้าหรือให้บริการที่อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม รายจ่าย  = เป็นยอดซื้อสินค้าหรือใช้บริการที่อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณี กิจการจดVat เมื่อขายสินค้าหรือบริการ จะต้องเก็บภาษี VAT จากลูกค้าและออกใบกำกับภาษีให้ลูกค้า ซึ่งภาษีที่เรียกเก็บนี้เรียกว่า “ภาษีขาย”  และกิจการจะต้องนำส่ง “ภาษีขาย” ให้สรรพากร ภายในวันที่ 15  ของเดือนถัดไป  ถึงจะมีรายรับหรือไม่มีรายรับก็ตาม   และถ้าหากยื่นแบบไม่ทันจะโดนค่าปรับตามที่สรรพากรกำหนด  ถ้าหากประสงค์จะยื่นแบบทางอินเตอร์เน็ตก็สามาถทำเรื่องยื่นขอได้ เมื่อกิจการซื้อสินค้าหรือบริการ เข้าบริษัท  โดยซื้อจากร้านค้าที่จดVat

รายงานภาษีซื้อ ภาษีขาย ภ.พ.30 (VAT)

 การจัดทำรายงานภาษีขาย เมื่อผู้ประกอบการที่เป็นผู้ขายและอยู่ในระบบมูลค่าเพิ่ม  เรียกเก็บเงินจากลูกค้าจะต้องบวก ภาษีขาย หรือ VAT  ขาย  และผู้ประกอบการจะต้องนำส่ง ภาษีขาย ให้กรมสรรพากรก่อนวันที่ 15 ของเดือนถัดไป (ใบนำส่งภาษีที่กิจการต้องกรอก  เรียกว่า แบบ ภ.พ.30  หรือ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม   เมื่อมีการขายสินค้ากิจการจะออกใบกำกับภาษีขายขึ้นซึ่งประกอบด้วย ต้นฉบับ = 1 + สำเนา = 5 รวมเป็น  6  ใบ )   ต้นฉบับใบกำกับภาษี + สำเนา 1 ใบ  ให้ลูกค้า  ส่วนที่เหลือ 4  ใบ  ใบแรกเก็บเข้าแฟ้ม   ใบที่